บทความ

วันปัจฉิมนิเทศ โรงเรียนบ้านคลองแค

รูปภาพ
  วันปัจฉิมนิเทศ โรงเรียนบ้านคลองแค นักเรียนชั้น ป.6/3 โรงเรียนบ้านคลองแค ปีการศึกษา 2562

การบริหารสถานศึกษาในยุค Disruption อันนำไปสู่ความเป็นผู้นำทางวิชาการ

รูปภาพ
  การบริหารสถานศึกษาในยุค Disruption อันนำไปสู่ ความเป็นผู้นำทางวิชาการ

Exploring the Use of Digital Technologies from the Perspective of Diverse Learners in Online Learning Environments

  Exploring the Use of Digital Technologies from the Perspective of  Diverse Learners in Online Learning Environments Kumi-Yeboah, Alex; Kim, Yanghyun; Sallar, Anthony Mawuli; Kiramba, Lydiah Kananu Online Learning ,  This qualitative study explored digital technologies that promote educational experiences and achievements of culturally diverse learners via interviews with 46 culturall v24 n4 p42-63 Dec 2020 y and linguistically diverse students across different academic programs. A qualitative research design using semi-structured interviews was used to collect the data for the study. The analysis of the data identified that digital technologies, multimedia presentations, and social network tools facilitate educational experiences and achievements of participants in asynchronous online learning environments. Participants applied digital technologies to navigate the Learning Management Systems (LMS) to engage and contribute to knowledge creation to achieve better academic success in on

Discourse Analysis and the Study of Educational Leadership

  Discourse Analysis and the Study of Educational Leadership Anderson, Gary; Mungal, Angus Shiva International Journal of Educational Management , v29 n7 p807-818 2015 Purpose: The purpose of this paper is to provide an overview of the current and past work using discourse analysis in the field of educational administration and of discourse analysis as a methodology. Design/Methodology/Approach: Authors reviewed research in educational leadership that uses discourse analysis as a methodology. Findings: While discourse analysis has been used in the field, little work has been done that explores "leadership" as a discourse practice. Originality/Value: Increased use of discourse analysis in the field might unearth the ways principals and superintendents are creators of discourse and mediators of the discourses of others. Descriptors:  Discourse Analysis ,  Instructional Leadership ,  Principals ,  Superintendents ,  Educational Administration ,  Linguistic Theory Emerald Group P

ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2

ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 Leadership of School Administrators under the office of Nakhon Si Thammarat Primary Educational Service Area 2 Abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2  และ 2)เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 ตามความคิดเห็นของครู จำแนกตามวุฒิการศึกษา ประสบการณ์การสอน และขนาดโรงเรียน กลุ่มตัวอย่าง คือครูโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 จำนวน 320 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น และวิธีการสุ่มอย่างง่ายเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามชนิดสำรวจรายการและมาตราส่วนประมาณค่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่า t–test วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One Way ANOVA) และเปรียบเที

รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นําของผู้บริหารโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประสิทธิผลในยุคดิจิตอล

 รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นําของผู้บริหารโรงเรียนคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประสิทธิผลในยุคดิจิตอล A Model of Administrators Leadership Development for Effective Schools in the Northeast Catholic Diocese in the Digital Age Dissertation บทคัดย่อ (Abstract) การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะภาวะผู้นําของผู้บริหารโรงเรียนคาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประสิทธิผลในยุคดิจิตอล เพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นําของผู้บริหารโรงเรียนคาทอลิกสังกัด สังฆมณฑลในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประสิทธิผลในยุคดิจิตอล และเพื่อศึกษาความเหมาะสม และความเป็นไปได้ของรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นําของผู้บริหารโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประสิทธิผลในยุคดิจิตอล โดยดําเนินการวิจัย 3 ระยะ ดังนี้ 1) ศึกษาลักษณะภาวะผู้นําของผู้บริหารโรงเรียนคาทอลิกสังกัด สังฆมณฑลในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประสิทธิผลในยุคดิจิตอล โดยการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี งานวิจัย และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ทั้งในและต่างประเทศ และสัมภาษณ์ผู้บริหารโรงเรียนที่ได้รับรางวัลพระราชทาน จํานวน 5 โรงเรียน